กิจกรรม 13 - 17 ธันวาคม 2553

ส่งงาน            


ตอบ ข้อ 1
ม้าน้ำเป็นปลาทะเลชนิดหนึ่งเนื่องจากเป็นสัตว์ที่หายใจด้วยเหงือก มีการเคลื่อนที่ไปมาและควบคุมทิศทางด้วยครีบ มีเกราะปกคลุมลำตัว ซึ่งเป็นลักษณะของปลานั่นเอง เพียงแต่ม้าน้ำเป็นสัตว์ที่มีรูปร่างแปลก คือมีส่วนหัวเหมือนม้า อยู่ในตระกูล GENUS เพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น แม้ม้าน้ำทั่วโลกก็ถูกจัดให้อยู่ในสกุล Hippocampus ของครอบครัว Syngnathidae แต่เพราะความแปลกประหลาดของเจ้าม้าน้ำในด้านรูปพรรณสัณฐาน วงจรชีวิตที่แตกต่างไปจากปลา เหนือสัตว์ทะเลโดยทั่วไปนี้เอง ทำให้การจัดแบ่งชนิดของม้าน้ำในระดับชนิด Species ยังมีความสับสนอยู่มาก แต่ก็มีการประมาณการกันไว้ว่า ม้าน้ำที่พบได้ในน่านน้ำทั่วโลก 6 ทวีปคือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ยุโรป แอฟริกา ออสเตรเลีย และเอเชียนั้น น่าจะมีอยู่ประมาณ 35 ชนิด
  

ตอบ ข้อ 4


ตอบ ข้อ 2


ตอบ ข้อ 2

ถ้าหากพบว่าเม็ดเลือดขาวมีมากกว่าปกติอาจจะเกิดอาการติดเชื้อในร่างกาย หรือบางกรณีอาจเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือลูคิเมีย


ตอบ ข้อ 3

คือ การเปลี่ยนแปลงของยีนที่ผิดไปจากเดิม ซึ่งลักษณะนี้
สามารถถ่ายทอดสืบต่อไปยังรุ่นลูกและรุ่นต่อ ๆ ไป

  
ตอบ ข้อ 2
ยีนคือ คำสั่งที่ให้สิ่งมีชีวิตมีลักษณะตามพันธุ์ของมัน ยีน อยู่ในเซลล์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของสิ่งมีชีวิต

ตอบ ข้อ 4 หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ที่สามารถ แสดงออกมาให้เห็นได้ เป็นผลมาจาก genotype และสิ่งแวด ล้อม

ตอบ ข้อ 2  DNA เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยนิวคลีโอ
ไทด์ (nucleotide) เรียงต่อกันมากมาย นิวคลีโอไทด์ มี 4 ชนิดคือ
1. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดีนีน (adenine)
2. นิวคลีโอไทด์ทีมีเบสไทมีน (thymine)
3. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน (cytosine)
4. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานีน (guanine)
ปริมาณของอะดีนีน = ปริมาณของไทมีนเสมอ
ปริมาณของไซโทซีน = ปริมาณของกวานีนเสมอ

ตอบ ข้อ 4 DNA  คือ ตัวกำหนดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นลักษณะที่ปรากฏออกมาเป็นรูปลักษณ์ภายนอกหรือลักษณะที่มองไม่เห็น
ตอบ ข้อ 1 โครโมโซม 1 แท่งประกอบด้วยโครมาตินหรือโครมาทิด(Chromatid)ที่เหมือนกันซึ่งเกิดจากการที่โครโมโซมจำลองตัวเองขึ้นมาโดยโครมาตินหรือโครมาทิดทั้งสองจะติดกันครงส่วนที่เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (Centromere)
โครมาตินคือDNAรวมกับโปรตีนHISTONEF
โครมาติดคือโครโมโซมที่ยังไม่จำลองตัวเอง(replication)จะมี 1P arm+1Qarm
โครโมโซมก็คือโครมาตินที่อัดตัวกันแน่น
ตอบ ข้อ 4    1. สกัดดีเอ็นเอออกจากสิ่งที่ตรวจ เช่น เลือด เส้นผม ชิ้นเนื้อ ฯลฯ ในขั้นตอนนี้ใช้เวลาตั้งแต่ 1 ชั่วโมงจนถึงเป็นวันเลยก็มี ขึ้นอยู่กับว่าสิ่งที่ตรวจเป็นอะไร มีสภาพอย่างไร
      2. เมื่อได้ดีเอ็นเอต้นแบบมาแล้วก็จะต้องเพิ่มจำนวนเสียก่อน โดยเทคนิคการเพิ่มจำนวนสายดีเอ็นเอ หรือ Polymerase chain reaction (PCR) ตรงนี้ระยะเวลาจะคงที่ ประมาณ 3 ชั่วโมง
      3. การแปลผลจะมีทั้งแบบใช้คนวิเคราะห์ (Manual) และแบบอัตโนมัติ โดยใช้เครื่องมืออัตโนมัติ ซึ่งเรียกว่า Automate Sequencer ขั้นตอนนี้จะได้ผลออกมาเพื่อใช้เปรียบเทียบและแปลผล โดยถ้าเป็นเครื่องอัตโนมัติ จะใช้เวลา ? - 1 ชั่วโมงต่อ 1 ตัวอย่าง ซึ่งเร็วกว่าแบบ Manual เครื่องมือ Automate Sequencer จะมีใช้อยู่ในสถาบันต่าง ๆ เช่น สถาบันนิติเวช, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์, โรงพยาบาลรามาธิบดี, โรงพยาบาลเชียงใหม่, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, โรงพยาบาลศิริราช เป็นต้น โดยจะเป็นเครื่องมือที่มีหลักการและมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้น ไม่ว่าจะตรวจที่ใดก็จะได้ผลเป็นอันเดียวกัน แต่เวลาที่ใช้ในการตรวจจะช้าหรือเร็วคงขึ้นอยู่กับว่ามีตัวอย่างที่ต้องตรวจ มากเพียงใด อาจจะใช้เวลาเพียงแค่ 6-8 ชั่วโมง หรือเป็นสัปดาห์ก็ได้

ตอบ ข้อ 2
จีเอ็มโอ (GMOs – Genetically Modified Organisms) คือ สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปรพันธุกรรมเป็นผลผลิตจากการใช้เทคโนโลยีพันธุ วิศวกรรม (เทคนิกการตัดต่อยีน) ในพืช สัตว์ หรือจุลินทรีย์ เพื่อให้มีคุณสมบัติหรือคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงตามที่ต้องการ เช่น ต้านทานแมลงศัตรูพืช คงทนต่อสภาพแวดล้อมหรือเพิ่มสารโภชนาการบางชนิด เช่น วิตามิน การ พิจารณาว่าจีเอ็มโอปลอดภัยต่อผู้บริโภคและ/หรือสิ่งแวดล้อมหรือไม่นั้น จะต้องผ่านการทดสอบหลายด้านเพื่อให้ได้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่เชื่อถือได้ เนื่องจากสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความหลากหลายทางพันธุกรรม และมีบทบาทในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันไป และก่อนที่ผู้ลิตรายใดจะนำจีเอ็มโอ หรือผลผลิตจากจีเอ็มโอแต่ละชนิดออกไปสู่ผู้บริโภคได้นั้น จะต้องได้รับการประเมินความปลอดภัยจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ต้องอาศัยผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาเพื่อให้มั่นใจว่าผลิตภัณฑ์นั้นๆ มีความปลอดภัยเทียบเท่ากับผลิตภัณฑ์ในลักษณะเดียวกันที่มีอยู่แล้วใน ธรรมชาติ ดังนั้นจึงถือได้ว่าผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอทุกชนิด ทั้งที่นำมาบริโภคเป็นอาหาร หรือนำมาปลูกเพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ มีความปลอดภัย

ตอบ ข้อ 2

ตอบ ข้อ 1

ตอบ ข้อ 1
ไวรัสไข้หวัดนกที่ระบาดในประเทศไทยเมื่อต้นปี 2004 มีชื่อเรียกว่า A/Chicken/Nakorn-Pathom/Thailand/CU-K2/04 (H5N1) ซึ่งเป็นไวรัสที่มีลักษณะก่อให้เกิดโรครุนแรง จัดเป็นชนิด highly pathogenic AI (HPAI) ซึ่งเชื้อที่แยกได้จากไก่จะมีลักษณะใกล้เคียงกับไวรัสไข้หวัดนกที่แยกเชื้อ ได้จากเป็ดในการระบาดที่ประเทศจีนเมื่อปี 2003 มากที่สุด A/Duck/China/E319.2/03 (H5N1) จากการศึกษารหัสพันธุกรรมของไวรัส พบว่ามี 20-codon deletion ในยีน neuraminidase และ 5-codon deletion ในยีน NS รวมทั้งพบ polymorphisms ของยีน M2 และยีน PB2 อีกด้วย